วันอาทิตย์ที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2560

หนังสือ อุรเวชช์ 2000 - สมาคมอุรเวชช์ แห่งประเทศไทย

หนังสือ อุรเวชช์ 2000 - สมาคมอุรเวชช์ แห่งประเทศไทย

เพื่อส่งเสริมวิทยาการเกี่ยวกับโรคทรวงอกและสามัคคีธรรมระหว่างอุรแพทย์
คำนำ
.........การฝึกอบรมทางวิชาการของสมาคมอุรเวชช์ฯ ซึ่งเดิมจัดทำ 2 ปี นั้น บัดนี้ทางสมาคมฯ ได้พยายามจะจัดให้มีขึ้นทุกปี ทั้งนี้เพื่อจะให้การศึกษาต่อเนื่องทางระบบโรคทางเดินหายใจครอบคลุมแพทย์ทั่ว ๆ ไปได้เป็นจำนวนมากขึ้น การจัดทำหนังสือเป็นส่วนหนึ่งของการให้ความรู้ทางคณะกรรมการบริหารสมาคมอุรเวชช์ฯ จึงได้จัดทำหนังสือเล่มนี้ขึ้น โดยได้รับความร่วมมืออย่างดีจากแพทย์ที่เป็นวิทยากรของการฝึกอบรมครั้งนี้ช่วยกันเขียน เพื่อให้ความรู้โรคระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อยและสำคัญ เช่น โรคติดเชื้อ โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง โรคหลอดเลือด และการอุดตันของหลอดเลือด pulmonary artery ซึ่งนับวันจะพบมากขึ้น และมีปัญหาเพิ่มขึ้น การดูแลผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจที่ฉุกเฉินตลอดจนการใช้เครื่องช่วยหายใจ ซึ่งคือเน้นศาสตร์ที่แพทย์ทั่วไปควรมีความรู้ไว้ คณะผู้จัดทำหวังอย่างยิ่งว่า เนื้อหาสาระในหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เข้ารับการฝึกอบรมและแพทย์ทั่วไป

สารบัญ
บทที่ 1 Update in Chest Radiology
บทที่ 2 การรักษาผู้ป่วยโรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรังและถุงลมโป่งพอง (COPD)
บทที่ 3 การรักษาโรคถุงลมในปอดโป่งพองโดยการผ่าตัด
บทที่ 4 การรักษาวัณโรคในกรณีพิเศษ
บทที่ 5 แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคปอดบวม
บทที่ 6 โรคปอดบวมจากการติดเชื้อนอกโรงพยาบาล
บทที่ 7 Massive Hemoptysis
บทที่ 8 ภาวะฉุกเฉินทางระบบการหายใจ (respiratory emergency)
บทที่ 9 โรคหืด : แนวทางการรักษาในปัจจุบัน
บทที่ 10 การรักษาภาวะหอบรุนแรงเฉียบพลัน
บทที่ 11 การดูแลรักษาหืดขั้นรุนแรง (management of severe asthma)
บทที่ 12 การใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยหอบหืดกำเริบเฉียบพลันขั้นรุนแรง (ventilator management in acute severe asthma)
บทที่ 13 Noninvasive Mechanical Ventilation
บทที่ 14 โรคหยุดหายใจขณะหลับจากการอุดกั้น (obstructive sleep apnea, OSA)
บทที่ 15 Pulmonary Thromboembolism
บทที่ 16 Bedside Lung Mechanics
บทที่ 17 Positive End-expiratory Pressure
บทที่ 18 การตั้งเครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยกลุ่มอาการหายใจลำบากเฉียบพลัน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น